SOLAR HYBRID VRF

แอร์ระบบรวมศูนย์

ความร้อน ความเย็น ที่คุณควบคุมได้

VRF (Variable Refrigerant Flow)

ระบบปรับอากาศแบบ VRF (Variable Refrigerant Flow) เป็นระบบเครื่องปรับอากาศ แบบรวมศูนย์ เพราะคอยล์ร้อน (outdoor unit) 1 ตัวสามารถติดตั้งคอยล์เย็น (indoor unit) ได้หลายตัวและหลายชั้นของอาคาร โดยคอยล์เย็นจะแยกการทำงานโดยอิสระ จึงสามารถควบคุมอุณหภูมิได้อย่างแม่นยำ ระบบนี้ที่สามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณสารทำความเย็นตามภาระโหลดของการทำความเย็นและจำนวน ตัวเครื่องที่ทำการติดตั้งได้ ระบบนี้ทำให้ประหยัดพลังงาน ประหยัดพื้นที่ติดตั้ง และความสวยงามของอาคาร สถานที่

SOLAR AIR HYBRID VRF

ALL DC Inverter Compressor

  • GREE PV VRF สิทธิบัตร CURRENT CONVERTER ของ GREE ที่ออกแบบให้แปลงไฟ DC เป็น AC เพียงครั้งเดียว ทำให้ประหยัดพลังงานส่วนนี้ไปกว่า 7-8% สามารถ นำไปจ่ายไฟยังเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆได้ โดยไม่ต้องเปลืองงบประมาณการติดตั้ง Inverter เพิ่มเติม นอกจากนั้นยังมีชุดควบคุม revert Power Control
  • ประหยัดพลังงานสูงสุด ในช่วงเวลาที่สามารถนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ได้อย่างเต็มที่
  • ใช้พลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้าปกติร่วมกันได้โดยอัตโนมัติ 
  • พลังงานไฟฟ้าที่เหลือจากการผลิตด้วยแสงอาทิตย์ ยังสามารถนำไปจ่ายให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ในอาคารเดียวกันได้
  • บริหารจัดการข้อมูลการผลิต และการใช้พลังงานผ่านระบบควบคุมส่วนกลางระยะไกลได้
SOLAR AIR HYBRID VRF

สามารถควบคุมเครื่องปรับอากาศจากส่วนกลาง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งเวลา เปิด-ปิด ล่วงหน้า, ตั้งอุณหภูมิแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน, เลือกที่จะปิด หรือเปิดเครื่องปรับอากาศแต่ละโซน แต่ละห้อง, อนุญาต หรือ ไม่อนุญาตให้ทาง user หรือผู้ใช้งานปรับอุณหภูมิ 

SOLAR AIR HYBRID VRF

Condensing Unit (คอยล์ร้อน ) 1 ชุด สามารถเชื่อมต่อกับ Indoor Unit (คอยล์เย็น หรือ แฟนคอยล์) ได้มากกว่า 60 ชุด โดยขึ้นอยู่กับ ขนาดบีทียู ของคอยล์ร้อน

Compare Break Even Point

ระบบปรับอากาศ แบบ AC Inverter กับระบบปรับอากาศแบบ Solar Hybrid VRF

Case Study :โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้พลังงานของมูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

Total Cooling Capacity :120 Tons

PV System : 80 kw.

Model : PV-GMV5 SOlar Hybrid VRF"GREE"


1.เป็นการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแอร์ Split Type เ ดิมไปใช้ระบบ Air VRFในสำนักงาน

Type

Capacity (Ton)

ชั่วโมงการทำงานต่อวัน

การใช้พลังงานไฟฟ้า(kWh./ปี)

การใช้ไฟฟ้าต่อปี(บาท)

ระบบปรับอากาศ AC 

Split Type

120

8

309,500

1,764,150

ระบบปรับอากาศ VRF

120

8

113,279

645,690

 1.การคำนวนประสิทธิภาพเครื่อรื่งปรับอากาศ split Type อ้างอิงแอร์ซึ่วใช้มานานกว่า 10 ปี ชนิด Fix Speed ประสิทธิภาพค่า EER=9

2. ชั่วโมงการทำงานต่อวัน 8 ชั่วโมง และ 250 วัน/ปี (ปิดใช้งานเสาร์-ร์อาทิตย์)

3. สูตรการคำ นวณค่าไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ ค่าไฟ = BTU ÷ SEER ÷ 1,000 x (จำนวนชั่วโมงต่อวัน) x (จำนวนวันที่ใช้งานx (ค่าไฟ 5.7 บ. ต่อหน่วย) BTU.

Compare Break Even Point

ระบบปรับอากาศ แบบ AC Inverter กับระบบปรับอากาศแบบ Solar Hybrid VRF

Case Study :โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้พลังงานของมูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

Total Cooling Capacity :120 Tons

PV System : 80 kw.

Model : PV-GMV5 SOlar Hybrid VRF"GREE"


2.เมื่อทำการติดตั้ง SOlar Hybrid VRF ขนาด 80 kW จะได้ค่าพลังงานไฟฟ้า Output ออกมาที่ 74% = 59.2 kW

Type

Solar System (kW)

การใช้พลังงานไฟฟ้า (kWh/ปี)

พลังงานไฟฟ้าที่่ผลิตได้

การใช้พลังงานไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศต่อปี(บาท)

การใช้ไฟฟ้าต่อปี(บาท)

ระบบปรับอากาศ AC

Split Type

0

309,500

0

309,500

1,764,150

ระบบปรับอากาศ Solar Hybrid VRF

80

113,279

112,361

(59.2 x 1,898)

918

5,233

 

 

 

 

ส่วนต่างการใช้พลังงานไฟฟ้า (บาท/ปี) 

1,758,918

 กำหนดให้ค่าเฉลี่ย 1 วันแผงพลังงานรับแสงแดดเฉลี่ยที่ 5.2 ชม./วัน ดังนั้นใน 1 ปี จะมีชั่วโฒงการผลิตที่ 365 x 5.2 = 1,898 ชม.

Compare Break Even Point

ระบบปรับอากาศ แบบ AC Inverter กับระบบปรับอากาศแบบ Solar Hybrid VRF

Case Study :โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้พลังงานของมูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

Total Cooling Capacity :120 Tons

PV System : 80 kw.

Model : PV-GMV5 SOlar Hybrid VRF"GREE"


3.ต้นทุนการติดตั้งและระยะเวลาคืนทุน

Type

AIR Material

Installation

Solar System

Total Cost

ระบบปรับอากาศ AC 

Split Type

0

309,500

0

0

ระบบปรับอากาศ Solar Hybrid VRF

3,160,788

2,282,631

2,200,000

7,643,419

สรุปว่าระบบปรับอากาศ Solar Hybrid VRF สามารถประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าเทียบกับระบบปรับอากาศของเดิมที่เสื่อมสภาพคิดเป็นเงินปีละ 1,758,918 บาท ดังนั้น

จุดคุ้มทุนโดยประมาณ 4.5 ปี

ขอบคุณข้อมูลเปรียบเทียบจาก บริษัท กรีประเทศไทย จำกัด


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy